Article 3 (This article was taken from an online Thai newspaper article. Spaces between words in the original article were inserted to 1) facilitate reading by non-native speakers of Thai, and 2) to use as input for the Concordance and Word Frequency programs. Decisions as to where to make word separations in Thai is often difficult. But here, consideration of word formation processes in Thai and ease of using the concordance and word frequency lists were taken into account. For example, the abstract noun marker "KHWAAM" and the gerund marker "KAAN" were separated from the verbs that they are normally bound to so as to avoid duplication in the concordance and also because most students should have learned the rule for the formation of abstract nouns and gerunds by the time they have reached the stage in their language acquisition where they are ready to read newspaper articles. In most cases, compounds were left intact, except where separation into component morphemes illuminates the meaning of the whole word in an interesting or memorable way. The reader is also left to puzzle through semantic doublets (two words similar in meaning that form a compound) and idiomatic expressions that cannot be deconstructed to constituent morphemes without producing nonsense. Abbreviations will be a roadblock to understanding the minutiae of titles and other designations. Proper names, place names, and titles will be a challenge to the reader. But with repeated exposure to articles of this kind, problems in reading and retention will diminish over time on the road to high level reading proficiency. The text below can be copied and pasted as a Word File and printed out in smaller font size in order to save paper.
เผา โรงเรียน ของ หนู ทำไม
เปิด เรียน วัน แรก อนาถ บาง โรงเรียน ต้องกาง เต็นท์ นั่ง เรียน หน้า เสา ธง หนูน้อย ปล่อย โฮลั่น " เผา โรงเรียน หนู ทำไม " ด่า คน ร้าย สิ้น คิด ชาวบ้าน ร่วมใจ ซื้อ ไม้ ตอก เป็น โต๊ะ เก้าอี้ พอ นั่ง เรียน ไป ก่อน ขณะที่ ศธ. ของ บ. ครม. 23 ล้าน ซ่อมสร้าง โรงเรียน เสร็จ ภายใน มี.ค. นี้
กรณี คน ร้าย ก่อ เหตุ อุกอาจ เผา โรงเรียน ใน พื้นที่ จังหวัด นราธิวาส พร้อมกัน 20 แห่ง ใน 10 อำเภอ เมื่อ เช้า วันที่ 5 ม.ค. โรงเรียน ทั้งหมด ต่าง เปิด ทำ การ เรียน การ สอน ตามปกติ โดย นักเรียน บาง ส่วน ต้อง อาศัย เต็นท์ เป็น อาคาร เรียน ชั่วคราว ครู และ นักเรียน บาง ราย เมื่อ มา ถึง โรงเรียน เห็น อาคาร ถูก เพลิงไหม้ ต่าง ก็ ร้องไห้ ออก มา ด้วย ความ เสียใจ
รอง บ. ครม. ซ่อมสร้าง โรงเรียน
นาย สุทิน เอียดนุสรณ์ ผู้อำนวยการ โรงเรียน เมือง นราธิวาส ซึ่ง เป็น โรงเรียน เก่าแก่ แห่ง หนึ่ง ตั้ง อยู่ ใน เขต พื้นที่ อ.เมือง นราธิวาส และ เป็น 1 ใน โรงเรียน 20 แห่ง ที่ ถูก เพลิงเผา จน เสียหาย จำนวน มาก กล่าว ว่า โรงเรียน ได้ จัด ห้อง เรียน ชั่วคราว ไว้ จำนวน 16 ห้อง เนื่องจาก ห้อง เรียน ที่ ได้ รับ ความ เสียหาย มี จำนวน 18 ห้อง รวมถึง ห้อง ทดลอง วิทยาศาสตร์ ด้วย โดย อาคาร เรียน ที่ ถูก ไฟไหม้ ปกติ แล้ว จะ มี นักเรียน ใช้ เป็น ห้อง เรียน กว่า 400 คน จาก นักเรียน ทั้งหมด 651 คน ซึ่ง ส่วน ใหญ่ เป็น นักเรียน ไทย มุสลิม เกือบ 80 เปอร์เซ็นต์ ส่วน ห้อง เรียน ที่ โดน ไฟไหม้ เป็น ห้อง เรียน ของ เด็ก นักเรียน ชั้น อนุบาล ถึง ชั้น ประถม ศึกษา ปี ที่ 3
"การ ฟื้นฟู อาคาร เรียน ใหม่ นั้น ต้อง รอ การ อนุมัติ งบประมาณ จาก รัฐบาล และ ได้ รายงาน ความ เสียหาย ไป แล้ว คาด ว่า เสียหาย ประมาณ 4,508,900 บาท และ ล่าสุด ก็ ได้ รับ งบ ฉุกเฉิน ช่วยเหลือ จาก คณะ รัฐมนตรี แล้ว จำนวน 5,000 บาท ส่วน กำลังใจ ของ ครู ที่ อยู่ ที่ นี่ ยังไม่ สามารถ ประเมิน ได้ แต่ น่าจะ มี บาง ส่วน ที่ รู้สึก ท้อ สำหรับ เหตุการณ์ ที่ เกิดขึ้น " นาย สุทิน กล่าว
ครู ยัน เหตุการณ์ ครั้งนี้ รุนแรง ที่สุด
นาง ชวนชม เทพรักษ์ อาจารย์ ราย หนึ่ง กล่าว ทั้ง น้ำตา ว่า ตั้งแต่ บรรจุ เป็น ข้าราชการ ครู ก็ เริ่ม สอน ที่ โรงเรียน แห่ง นี้ มา ตลอด ระยะ เวลา 28 ปี ที่ ผ่าน มา ไม่ เคย เกิด เหตุ ร้าย รุนแรง ขนาด นี้ มา ก่อน เนื่องจาก เป็น โรงเรียน เก่าแก่ อีก ทั้ง ยัง ตั้ง อยู่ ใจ กลาง เมือง นราธิวาส ทำให้ รู้สึก เสียใจ มาก ๆ และ ไม่ รู้ ว่า การ ฟื้นฟู โรงเรียน ขึ้น ใหม่ ต้อง ใช้ ระยะ เวลา นาน เท่าใด จึง หวัง ว่า ต่อไป นี้ พี่น้อง ชาวบ้าน ทุก คน จะ ช่วย กัน ดูแล และ ระมัดระวัง เพื่อ ไม่ ให้ เกิด เหตุ ร้าย ขึ้น อีก
ขณะที่ นาย สุรพงศ์ บุญคง ผู้ปกครอง นักเรียน กล่าว ว่า รู้สึก ตกใจ มาก เมื่อ ทราบ ข่าว ก็ รีบ มา ดู ที่ เกิดเหตุ ปรากฏ ว่า ได้ รับ ความ เสียหาย มาก ซึ่ง เหตุการณ์ ที่ เกิดขึ้น ไม่ น่า จะ เกิด กับ สถาน ศึกษา ของ เยาวชน
ด้าน ด.ช. มูฮัมหมัดวาฟี มะดากะกูล นักเรียน ชั้น ป. 5 กล่าว ว่า เมื่อ รู้ ข่าว รู้สึก เสียใจ อย่าง มาก ที่ โรงเรียน โดน คน ใจ ร้าย มา เผา ทำ ให้ ไม่ มี ที่ เรียน หนังสือ
ชาวบ้าน ลง ขัน ต่อ โต๊ะ เก้าอี้ ให้ เด็ก นั่ง เรียน
ส่วน ที่ โรงเรียน บ้าน เขา ตันหยง ใน พื้นที่ เขต อ. เมือง จ. นราธิวาส นาย อภิสิทธิ์ และ ผู้อำนวยการ โรงเรียน กล่าว ว่า จาก การ ประเมิน ความ เสียหาย แล้ว พบ ว่า อาคาร เรียน ถูก เพลิง เผาไหม้ จำนวน มาก ทำ ให้ การ เรียน การ สอน ใน วัน นี้ ต้อง ใช้ เต็นท์ และ โรง อาหาร เป็น ห้อง เรียน ไป ชั่วคราว จนกว่า จะ สร้าง อาคาร เรียน หลัง ใหม่ เสร็จ เรียบร้อย ทั้ง นี้ มูลค่า ความ เสียหาย คาด ว่า ประมาณ 2,070,000 บาท
"นักศึกษา จาก วิทยาลัย เทคนิค นราธิวาส จะ เข้า มา ดู พื้นที่ เพื่อ เตรียม ช่วยเหลือ ใน การ ก่อ สร้าง อาคาร เรียน ชั่วคราว ให้ กับ เด็ก นักเรียน ทั้ง ยัง ได้ รับ ความ ร่วมมือ จาก ชาวบ้าน และ ผู้ปกครอง เด็ก นักเรียน ใน พื้นที่ ใน การ ช่วยเหลือ ทำ โต๊ะ เก้าอี้ เพื่อ ให้ เด็ก ได้ ใช้ เรียน แทน โต๊ะ เก้าอี้ ที่ ถูก เพลิงไหม้ ด้วย" นาย อภิสิทธิ์ กล่าว
นาง สมจิตร มากมิ่งจวน อาจารย์ ประจำ ชั้น ป. 3 โรงเรียน บ้าน เขาตันหยง กล่าว ว่า ไม่ รู้สึก หวาดกลัว กับ เหตุการณ์ ที่ เกิดขึ้น เพราะ เป็น คน ใน พื้นที่ จ. นราธิวาส แต่ รู้สึก โกรธแค้น กลุ่ม คน ร้าย ที่ ก่อ เหตุ ว่า ทำไม ต้อง มา ทำ กับ โรงเรียน ที่ ไม่ ได้ เกี่ยวข้อง อะไร เลย โรงเรียน บ้าน เขาตันหยง ไม่ เคย เกิดเหตุการณ์ เช่น นี้ มา ก่อน ทั้ง นี้ รู้สึก สงสาร เด็ก นักเรียน มาก รวมถึง เสียดาย งาน ฝีมือ และ อุปกรณ์ การ เรียน ของ เด็ก ที่ ถูก เพลิงไหม้ ทั้งหมด
นาย วิชิต เพชรสุข ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 6 ต. กะลุวอเหนือ อ. เมือง จ. นราธิวาส กล่าว ว่า ได้ เกณฑ์ ชาวบ้าน ใน พื้นที่ เพื่อ ช่วยกัน รื้อ ซาก เพลิงไหม้ ที่ อาจจะ เป็น อันตราย กับ เด็ก นักเรียน และ ช่วย กัน ซื้อ ไม้ เพื่อ มา ทำ โต๊ะ เก้าอี้ ให้ เด็ก นั่ง เรียน ซึ่ง เป็น การรวบรวม เงิน และ ความ ช่วยเหลือ ของ ชาวบ้าน ใน พื้นที่ เพราะ โรงเรียน คือ สถาน ศึกษา ของ ลูกหลาน ชาวบ้าน ชาวบ้าน บางคน ก็ เป็น ศิษย์ เก่า ของ ที่นี้
นาง ชุติพันธ์ เงิน ประกอบ ผู้ปกครอง เด็ก นักเรียน กล่าว ว่า รู้สึก เสียใจ กับ เหตุการณ์ ที่ เกิดขึ้น หลังจาก ที่ ทราบ ว่า เกิด ไฟไหม้ ก็ ได้ เดินทาง มา ดู กับ ลูก ซึ่ง ลูก ก็ ยัง ถาม ว่า ไฟไหม้ แล้ว จะ ไป เรียน ที่ไหน ทำให้ รู้สึก สงสาร เด็กๆ ที่ ต้อง มา เจอ กับ เหตุการณ์ เช่น นี้
ด.ช.สาธิต แก้วชู นักเรียน ชั้น ป.6 กล่าว ว่า เสียใจ มาก ที่ ไฟไหม้ อาคาร เรียน ทำให้ ไม่ รู้ ว่า จะไป เรียน ที่ไหน และ ทำไม ต้องมา เผา ที่ โรงเรียน ด้วย ทำให้ หนังสือ เรียน และ อุปกรณ์ การ เรียน ทั้งหมด ถูก เผา ไป หมด แล้ว นักเรียน จะ เรียน กัน อย่างไร
กาง เต็นท์ เรียน หน้า เสา ธง
ส่วน ที่ โรงเรียน กัวลอซีลา ต. ปาเสมัส อ. สุไหงโก-ลก ซึ่ง โรงเรียน ถูก เผา เสียหาย ทั้งหมด เด็ก นักเรียน ต้อง กาง เต็นท์ เรียน ที่ บริเวณ หน้า เสา ธง ขณะที่ เด็ก อนุบาล ส่วน หนึ่ง ต้อง นั่ง เรียน ใต้ ต้นไม้ แทน นักเรียน ระดับ ประถม ศึกษา ต้อง ใช้ โรง รถ เป็น ห้องเรียน โดย มี ผู้ บริหาร โรงเรียน และ ผู้บริหาร ระดับ สูง ใน สังกัด เดินทาง มา ตรวจ เยี่ยม เป็น ระยะๆ
ด.ญ.นราพร แซ่แซ่น นักเรียน ชั้น ป.6 โรงเรียน บ้าน ศาลาอูมา กล่าว ด้วย สี หน้า เศร้า หมอง ว่า รู้สึก เสียใจ มาก ที่ โรงเรียน ต้อง มา ถูก เผา ที่ สำคัญ ทรัพย์สิน ของ โรงเรียน ต้อง เสียหายห มด เหตุ ที่ เกิดขึ้น ทุกคน จึง เสียใจ มาก ครู ทุก คน ก็ เสียใจ
"คน ร้าย เผา โรงเรียน หนู ทำไม หนู รัก โรงเรียน มาก เขา คง ไม่ คิดถึง อนาคต ของ นักเรียน คน ร้าย คง จะ ไม่ มี ลูก ที่ จะ ต้อง เรียน ถ้า มี ลูก เขา คง จะ คิด ได้ บ้าง ว่า ลูก เขา ต้อง เรียน หนังสือ ต้อง มี อนาคต ต้อง รู้จัก คิด ครู หลาย คน ถึงกับ ร้องไห้ พวก เรา จึง ขอ ให้ เจ้าหน้าที่ จับ คนร้าย มา ลงโทษ ให้ได้ และ หาก คน ร้าย คิด ได้ ก็ ขอ ให้ เข้า มอบ ตัว กับ ตำรวจ รวม ทั้ง ขอ ให้ ช่วย ซ่อมแซม โรงเรียน ของ หนู ให้ น้องๆ รุ่น หลัง ได้ เรียน ด้วย" ด.ญ. นราพร กล่าว ทั้ง น้ำตา
ด้าน นาย สุทธิพันธ์ การัมซอ ชาวบ้าน ใน ละแวก ดังกล่าว ใน ฐานะ ประธาน โรงเรียน บ้านศาลาอูมา กล่าวว่า เหตุ ที่ เกิดขึ้น เชื่อ ว่า เป็น การ สร้าง สถานการณ์ มาก กว่า ไม่ ใช่ กลุ่ม โจร ก่อ การ ร้าย อย่างไรก็ตาม ชาวบ้าน ชินชา กับ เหตุการณ์ ทำนอง นี้ แล้วแต่ ผล กระทบ จะ เกิด ใน ด้าน เศรษฐกิจ มาก กว่า โดย เฉพาะ การ ท่องเที่ยว และ รัฐบาล ไม่ ควร นำ กฎ อัยการศึก มา ใช้ เพราะ จะ ทำให้ ดู ว่า สถานการณ์ ร้ายแรง หนัก กว่า เดิม การ ท่องเที่ยว จะ ทรุด หนัก ควร จะ ใช้ กำลัง เจ้าหน้าที่ ดูแล ตามปกติ มาก กว่า
ศธ. เตรียม ของ บ. ครม. 23 ล้าน
ส่วน ความ ช่วยเหลือ จาก รัฐบาล นั้น เช้า วันที่ 5 มค. มี รายงาน ว่า พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร นาย กรัฐมนตรี ได้ หารือ กับ นาย อดิศัย โพธารามิก รัฐมนตรีว่า การ กระทรวง ศึกษาธิการ เพื่อ หา มาตรการ ช่วยเหลือ โรงเรียน ที่ ได้ รับ ผลกระทบ ซึ่ง เบื้องต้น นาย กรัฐมนตรี ได้ กำชับ ให้ รมว.ศึกษาธิการ ดูแล เอาใจใส่ โรงเรียน ที่ ถูก ไฟไหม้ พร้อม ทั้ง ตั้ง ทีม เฉพาะ กิจ ใน พื้นที่ เฝ้าระวัง ไม่ ให้ เกิด เหตุการณ์ ขึ้น อีก โดย ให้ ประสาน ความ ร่วมมือ กับ หน่วยงาน ใน พื้นที่ อย่างใกล้ชิด
นาย อดิศัย เปิดเผย ว่า ศธ. ได้ ประเมิน ความ เสียหาย ของ โรงเรียน ต่างๆ เบื้องต้น พบ ว่า เสียหาย ไป มูลค่า 14 ล้าน บาท ซึ่ง ได้ เตรียม เสนอ ของ บ. ฉุกเฉิน จาก ที่ ประชุม คณะรัฐมนตรี ใน วันที่ 6 ม.ค. จำนวน 23 ล้าน บาท ทั้งนี้ ใน จำนวน 20 โรงเรียน ที่ ถูก วาง เพลิง มี 4-5 โรงเรียน ที่ ไฟไหม้ ติด และ ดับ ได้ ทัน โรงเรียน ที่ เสียหาย หนัก มี เพียง 4-5 โรงเรียน รวม แล้ว จะ ต้อง สร้าง อาคาร เรียน ใหม่ ทั้งหมด 8 อาคาร ใช้ งบประมาณ 23 ล้าน บาท และ ต้อง สร้าง ให้ เสร็จ ภายใน 3 เดือน
"คาด ว่า
จะ แล้ว เสร็จ ประมาณ
เดือน มี.ค.
ขณะนี้ ได้ ให้ โรงเรียน
ทำ การ เรียน
การ สอน โดย ใช้ อาคาร สำรอง หาก โรงเรียน ไหน มี อาคาร เรียน สำรอง
ไม่ พอ ทาง
ศธ . จะ มี เต็นท์
บริการ ให้
สำหรับ สื่อ
การ เรียน
การ สอน ที่
ถูก ทำลาย
ไป ซึ่ง
ส่วน ใหญ่
จะ เป็น
หนังสือ ตำรา
เรียน ศธ.
ได้ จัด
ส่ง โต๊ะ เก้าอี้
หนังสือ
กระดาน และ
อุปกรณ์ การ เรียน
การ สอน ทุก อย่าง
ไป ให้ ทาง โรงเรียน
เรียบร้อย หมด แล้ว
เนื่องจาก
โรงเรียน
ส่วนใหญ่
ที่ ถูก เผา เป็น
โรงเรียน
ระดับ ชั้น
ประถม ศึกษา
สื่อ การ เรียน
การ สอน จึง หา ได้ ไม่ ยาก ใน วันนี้ จึง มี นักเรียน
มา เรียน
หนังสือ เกิน
90%
แล้ว ส่วน
อาการ หวาดกลัว
หรือ เสียขวัญ
ก็ เริ่ม
ดี ขึ้น
มี กำลังใจ มา เรียน มาก ขึ้น"
นาย อดิศัย กล่าว
ยัน โรงเรียน ไม่ ใช่ เป้าหมาย ก่อ การร้าย
รมว. ศึกษาธิการ ยัง กล่าว ถึง แนวทาง การป้องกัน เหตุ ร้าย ที่ จะ เกิด กับ โรงเรียน ใน ภาค ใต้ อีก ว่า ได้ ให้ ครู อาจารย์ และ ชาวบ้าน ช่วยกัน เฝ้า ระวัง แต่ ต้อง เข้าใจ ว่า การ ที่ โรงเรียน ถูกเผา ไม่ ใช่ ความ ผิด ของ ทาง โรงเรียน ที่ ละเลย การ เฝ้าระวัง เพราะ การ ลอบ ทำการ ก่อ การ ร้าย เป็น เรื่อง ที่ ระวัง ได้ ยาก และ โรงเรียน ก็ ไม่ ใช่ เป้าหมาย ของ การ ก่อ การ ร้าย ครั้งนี้ แต่ เป็น แผน ส่วน หนึ่ง ใน การ เบี่ยงเบน ความ สนใจ เท่านั้น และ ยืนยัน ว่า ที่ ผ่าน มา โรงเรียน ทั่ว ประเทศ ไม่ ใช่ กลุ่ม เป้าหมาย ของ การ
ก่อ การ ร้าย เช่นกัน
นาง สิริกร มณีรินทร์ รัฐมนตรี ช่วย ว่า การ กระทรวง ศึกษาธิการ กล่าว ว่า จาก การ ลง พื้นที่ ตรวจ เยี่ยม โรงเรียน ที่ ถูก ไฟไหม้ เบื้องต้น พบ ว่า อาคาร เรียน และ อุปกรณ์ การเรียน การ สอน ได้ รับ ความ เสียหาย อย่าง มาก จน ไม่ สามารถ ที่ จะ ซ่อมแซม ได้ จึง ได้ ประสาน ขอ ความ ร่วมมือ จาก อบต. และ โรงเรียน อาชีวะ ใน การ จัดหา โต๊ะ เก้าอี้ กระดาน ดำและ เต็นท์ ใช้ เป็น ที่ เรียน ชั่วคราว แต่ บาง โรงเรียน ต้อง อาศัย วัด เป็น สถานที่ เรียน ไป ก่อน จนกว่า จะ สร้าง อาคาร เรียน เสร็จ เรียบร้อย โดย ได้ ขอ ให้ สำนักงาน คณะ กรรมการ การ อาชีวศึกษา (สอศ.) เป็น หน่วยงาน ที่ ทำ หน้าที่ ปรับ แบบแปลน อาคาร เรียน เพื่อ เอื้อ ต่อ การ ก่อ สร้าง โรงเรียน ให้ เสร็จ เร็ว ขึ้น
คุณครู นักเรียน ขวัญผวา จน เครียด
นาง สิริกร กล่าว ต่อไป ว่า ได้ รับ รายงาน จาก ผู้อำนวยการ โรงเรียน เมือง นราธิวาส จ.นราธิวาส ว่า หลัง เกิดเหตุ ผู้อำนวยการ โรงเรียน เมือง นราธิวาส ได้ เดิน ทาง ด้วย รถยนต์ ส่วนตัว เพื่อ มา ตรวจ เยี่ยม โรงเรียน ปรากฏ ว่า ตลอด ระยะ เส้นทาง ความ ยาว 10 กิโลเมตร จาก ที่ พัก มา ยัง โรงเรียน ถูก โรย ด้วย ตะปู ชนิด มี ร่ม ซึ่ง เรียก กัน ว่า เรือ ใบ ทำ ให้ รถ ของ ผอ .ร.ร. เมือง นราธิวาส ล้อ ยาง แตก และ รถ เสีย หลัก ไป ชน กับ ฝูง วัว ข้าง ถนน ก่อน จะถึง โรงเรียน
" เวลา นี้ ผอ.ร.ร. เมือง นราธิวาส รวม ทั้ง ครู และ นักเรียน ยัง ตกใจ และ ขวัญผวา จน เกิด ความ เครียด จัด ซึ่ง ยัง ไม่ สามารถ ประมาณ ค่า ความ เสียหาย ที่ เกิดขึ้น ได้ โรงเรียน บาง แห่ง เด็ก ฝาก เงิน ออม ทรัพย์ ไว้ กับ ครู แต่ เมื่อ โรงเรียน ถูก ไฟเผา ทุก อย่าง ก็ หมดสิ้น รวม ทั้ง สวน พฤกษศาสตร์ ของ โรงเรียน ก็ กลายเป็น เถ้า ถ่าน ทำให้ บรรยากาศ ใน โรงเรียน ที่ ถูก ไฟไหม้ เต็ม ไป ด้วย ความ เศร้าโศก จน ยาก ที่ จะ เยียวยา " นาง สิริกร กล่าว และ ว่า กระทรวง ศึกษาธิการ ใน นาม ของ รัฐบาล พร้อม จะ รับผิดชอบ ค่า เสียหาย ที่ เกิดขึ้น จาก เหตุการณ์ ครั้งนี้ ทั้งหมด แม้ ว่า กระทรวง ศึกษาธิการ จะ ไม่ มี ส่วน เกี่ยวข้อง กับ เหตุการณ์ ใน ครั้ง นี้ ก็ ตาม
จ่าย เงิน ช่วย เบื้องต้น แห่ง ละ 2 พัน
นาย เจริญ ภักดีวานิช รอง เลขาธิการ คณะ กรรมการ การศึกษา ขั้น พื้นฐาน (สพฐ.) กล่าว ขณะอยู่ ใน พื้นที่ เกิดเหตุ ไฟไหม้ โรงเรียน ที่ จังหวัดนราธิวาส ว่า เวลา นี้ ขวัญ กำลังใจ ของ ครู และ นักเรียน เริ่ม ดี ขึ้น หลังจาก ผู้บริหาร ระดับ สูง ของ กระทรวง ศึกษาธิการ ได้ ลง พื้นที่ ตรวจ เยี่ยม โรงเรียน ที่ ถูก ไฟไหม้ ที่ สำคัญ ชาว บ้าน ต่าง มา ชุมนุม ปลอม ขวัญ ให้ กำลังใจ ครู เป็น อย่าง ดี ทำให้ สถานการณ์ ที่ เลวร้าย กลับ คืน สู่ สภาพเดิม
นาย เจริญ กล่าว ด้วย ว่า เบื้องต้น สำนักงาน คณะ กรรมการ การศึกษา ขั้น พื้นฐาน ได้ จัดสรร งบ ช่วยเหลือ ทั้ง 2 เขต พื้นที่ การศึกษา ใน พื้นที่ จังหวัด นราธิวาส แห่ง ละ 200,000 บาท ขณะเดียวกัน ก็ ให้ เงิน แต่ละ โรงเรียน ที่ ถูก ไฟไหม้ ทั้งหมด โรงเรียน ละ 2,000 บาท เพื่อ นำไป แก้ไข ปัญหา เฉพาะ หน้า ก่อน
นาย ประสิทธิ์ จันทร์ดา รอง เลขาธิการ คณะ กรรมการ การอาชีวศึกษา เปิดเผย ภายหลัง ได้ รับ คำสั่ง จาก นาย วีระศักดิ์ วงศ์สมบัติ เลขาธิการ คณะ กรรมการ การอาชีวศึกษา ให้ เข้า ไป ทำ การก่อสร้าง อาคาร เรียน แทน โรงเรียน ที่ ถูก เผา ใน ภาคใต้ ว่า ได้ ให้ เจ้าหน้าที่ เข้า ไป สำรวจ ความ เสียหาย ของ โรงเรียน ที่ ถูก เผา ทั้งหมด เพื่อ เตรียม การก่อสร้าง โดย ให้ นักเรียน อาชีวศึกษา ใน พื้นที่ จังหวัด ภาคใต้ เป็น ผู้รับผิดชอบ ใน การก่อสร้าง ปรับปรุง และ ซ่อมแซม ทั้งหมด
" สำหรับ เรื่อง งบประมาณ ใน การก่อสร้าง ขณะนี้ ยังไม่ สามารถ ระบุ จำนวน ออก มา ได้ จะ ต้อง รอ ดู รายละเอียด ความ เสียหาย ของ โรงเรียน ทั้งหมด ก่อน อย่างไรก็ตาม ที่ ผ่าน มา ทาง สำนักงาน คณะ กรรมการ การ อาชีว ศึกษา ได้ มี การ จัดสร้าง อาคาร เรียน ให้ กับ โรงเรียน ตำรวจ ตระเวน ชายแดน เป็น อาคาร เรียน ขนาด กลาง มี 3 ห้อง เรียน มี ห้อง พัก ครู และ ห้อง น้ำ อยู่ ใน ตัว อาคาร ใช้ งบประมาณ ทั้งสิ้น 500,000 บาท ซึ่ง คาด ว่า จะ นำ แบบ อาคาร เรียนนี้ ไป ก่อ สร้าง ให้ กับ โรงเรียน ที่ ถูก เผา เนื่อง จาก ใช้ ระยะ เวลา ใน การ ก่อสร้าง ไม่ นาน และ มี สภาพ คง ทน ถาวร " รอง เลขาธิการ คณะ กรรมการ การ อาชีวศึกษา กล่าว
ครู ใต้ จี้ รัฐ แก้ ปัญหา ความ ไม่สงบ
นาย บุญช่วย ทองศรี ที่ปรึกษา สมาพันธ์ ครู ภาคใต้ ซึ่ง เดินทาง ไป เยี่ยม โรงเรียน เมือง นราธิวาส และ โรงเรียน บ้าน เขา ตันหยง อ. เมือง จ. นราธิวาส กล่าวว่า การ ลอบ เผา โรงเรียน ครั้ง นี้ ใช้ วิธี การ เดิม ๆ เหมือนกับ เมื่อ 10 ปี ที่แล้ว ไม่ มี ผิด เป็น ผลงาน ที่ เกือบ สมบูรณ์ แบบ ขาด แต่ วัตถุประสงค์ ของ การ กระทำ ที่ แย่ มาก ทำให้ เด็ก นักเรียน ต้อง มา รับ กรรม ที่ ไม่ ได้ ก่อ ซึ่ง แน่นอน ว่า ขวัญ กำลังใจ ของ ครู ก็ ต้อง เสื่อม ถอย ลง ไป เมื่อ อำนาจ รัฐ ถูกท้าทาย อย่าง รุนแรง เช่น นี้ แต่ ด้วย ความ เป็นครู ก็ ต้อง ยืนหยัด เคียงข้าง นักเรียน ตัว น้อย ๆ ต่อไป แม้ ว่า เงิน เสี่ยงภัย ที่ รัฐบาล รับปาก ไว้ ว่า จะ จ่าย ให้ จะ ได้ รับ บ้าง หรือ ไม่ ได้ รับ บ้าง ก็ ตาม ซึ่ง เงิน ส่วน นี้ กระทรวง การ คลัง เป็น ผู้กำหนด เงื่อนไข และ พื้นที่ การ จ่ายเงิน ที่ ผ่าน มา ทาง สมาพันธ์ ครู ก็ เคย ส่ง เรื่อง ให้ มี การ ทบทวน เงื่อนไข ดังกล่าว แต่ โดย ส่วนตัว คิด ว่า เรื่อง เงิน เสี่ยงภัย นี้
ยัง ไม่ ใช่ ประเด็น หลัก ที่ จะ มา พูด ถึง ใน ยาม คับขัน เช่น นี้ เพราะ สังคม อาจ จะ เข้าใจ ผิด ว่า ครู เห็น แก่ เงิน "เรื่อง ที่ เร่ง ด่วน ที่สุด ใน ตอน นี้ ก็ คือ รัฐบาล ต้อง รีบ หา คำตอบ เรื่อง ความ ปลอดภัย และ ความ มั่นคง ใน การ ดำเนิน ชีวิต ให้ กับ วงการ การศึกษา ใน ภาคใต้ ตอนล่าง เพราะ ถือ เป็น เรื่อง สำคัญ ที่ ต้อง เร่ง ลบ ภาพ ที่ อึมครึม เพื่อ ฟื้นฟู สภาพ จิตใจ ของ ครู และ นักเรียน อย่าง เร่ง ด่วน" นาย บุญช่วย กล่าว นาง สุภาพันธ์ สัจจมาศ ประธาน สมาพันธ์ ครู สตรี 5 จังหวัด ชายแดน ภาคใต้ อดีต ครู โรงเรียน บ้าน ลากอ อ. ยะหา จ. ยะลา ที่ ถูก เผา เมื่อ ปี 2536 กล่าว ด้วย น้ำ เสียง สั่น เครือ ว่า เมื่อ ไป เห็น โรงเรียน ที่ ถูก เผา ใน ครั้ง นี้ ทำ ให้ รู้สึก สะเทือนใจ นึก ไป ถึง ภาพ ใน อดีต เมื่อ 10 ปี ที่ แล้ว ที่ ยัง ตาม มา หลอกหลอน อยู่ ครั้งนั้น ครู ที่ โรงเรียน บ้าน ลากอ ทุก คน เสียใจ มาก ออก มา ยืน ร้องไห้ หน้า ซาก โรงเรียน อย่าง ไม่ อาย ใคร ทั้ง สงสาร เด็ก ๆ ที่ ไม่ มี ที่ เรียน และ เสียขวัญ จาก เหตุการณ์ ที่ เกิดขึ้น ซึ่ง ตน ไม่ เข้าใจ ว่า ทำไม รัฐบาล ยัง แก้ ปัญหา ซ้ำ ซาก นี้ ไม่ ได้ เพราะ ส่ง ผล กระทบ ถึง สภาพ จิตใจ ของ ครู ใน จังหวัด ชายแดน ภาค ใต้